ปัจจัยเสี่ยง ตัวอย่างการจัดการความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง การวิเคราะห์ความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง 4 ขั้นตอน กลยุทธ์การจัดการความเสี่ยง ตัวอย่างความเสี่ยง
ปัจจัยเสี่ยง รายงานความเสี่ยงโลก ปี 2022 จัดทำโดยสภาธุรกิจโลก (WEF) [The Global Risks Report 2022] สาระสำคัญโดยสรุปชี้ว่า ความเสี่ยงต่อการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก จากภาวะเศรษฐกิจถดถอย หลังการหดตัวถึง 3.1% ในปี 2020 นั้นเกิดขึ้นหลายอย่าง ตัวอย่างการจัดการความเสี่ยง โดยการเติบโตของเศรษฐกิจโลกปี 2021 จะขยายตัวได้ถึง 5.9% และชะลอตัวลงอยู่ที่ 4.9%ในปี 2022 ขณะเดียวกัน ในปี 2024 มีการประเมินว่าเศรษฐกิจโลกจะอยู่ที่ 2.3%
การบริหารความเสี่ยง
สำหรับความเสี่ยงต่อเศรษฐกิจได้แก่ “commodity shocks” หรือ ราคาที่สูง การบริหารความเสี่ยง และซัพพลายสินค้าโภคภัณฑ์หยุดชะงัก ราคายังไม่มีเสถียรภาพ วิกฤติหนี้สิน การหยุดชะงักของห่วงโซ่อุปทาน และการเปลี่ยนผ่านการลงทุนพลังงานฟอสซิล “ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ นำไปสู่อัตราเงินเฟ้อที่สูง ซึ่งจะเป็นอุปสรรคการฟื้นตัวของการบริโภคทั้งที่เป็นกลไกสำคัญของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ และเงินเฟ้อยังเป็นอีกสาเหตุสำคัญที่ทำให้ธนาคารกลางหลายประเทศเลือกที่จะขึ้นดอกเบี้ยเพื่อสกัดเงินเฟ้อ และยิ่งเป็นการขัดขวางการฟื้นตัวของการใช้จ่ายของประชาชนอีก”
การวิเคราะห์ความเสี่ยง
ทั้งนี้ ยังมีปัจจัยต่อเนื่อง จากปัญหาเศรษฐกิจคือ มูลหนี้ที่สูงขึ้นจนกระทบต่อรายได้ครัวเรือน และทำให้ธุรกิจขนาดกลาง และย่อม(SMEs) ต้องใช้ความพยายามอย่างสูงที่จะพาธุรกิจให้พ้นจากภาวะล้มละลายท่ามกลางสถานการณ์ที่การบริโภคอ่อนแอมาก การวิเคราะห์ความเสี่ยง อย่างไรก็ตาม จากเหตุปัจจัยต่างๆ เมื่อประเมินถึงความเสี่ยงที่รุนแรงที่สุดของโลกในอีก 10 ปีจากนี้กลับพบว่า เป็นเรื่องของความล้มเหลวการแก้ปัญหา“สภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง” เป็นความเสี่ยงลำดับที่หนึ่ง
การประเมินความเสี่ยง 4 ขั้นตอน
นี่คือสิ่งที่เกิดขึ้นในช่วง 3 เดือนแรกของปี และช่วงไตรมาส 2 คือเดือน เม.ย.-มิ.ย. การหดตัวของเศรษฐกิจคงจะมีมากขึ้น จากมาตรการล็อกดาวน์เศรษฐกิจที่เกือบทุกประเทศใช้ ทำให้คาดการณ์ได้ว่าการขยายตัวของเศรษฐกิจในไตรมาส 2 จะติดลบมากกว่าไตรมาส 1 ในทุกประเทศ การประเมินความเสี่ยง 4 ขั้นตอน และการที่เศรษฐกิจขยายตัวติดลบต่อเนื่องกัน 2 ไตรมาส ถือเป็นภาวะถดถอยทางเศรษฐกิจ หรือ Recession ดังนั้นชัดเจนว่าเศรษฐกิจโลกขณะนี้กำลังอยู่ในภาวะถดถอย
กลยุทธ์การจัดการความเสี่ยง
คำถามคือ ภาวะถดถอยนี้จะนานแค่ไหน และจะแย่กว่านี้หรือไม่ในช่วงครึ่งหลังของปี กลยุทธ์การจัดการความเสี่ยง อาทิตย์ที่แล้ว กรรมการผู้อำนวยการไอเอ็มเอฟ ให้สัมภาษณ์ว่า ตัวเลขเศรษฐกิจที่ออกมาจากหลายประเทศชี้ว่าผลกระทบของวิกฤติโควิด-19 ต่อเศรษฐกิจโลกนั้น รุนแรงกว่าที่ได้คาดการณ์ไว้ ทำให้อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกปีนี้จะออกมาต่ำกว่าที่คาดไว้เดิม คืออาจติดลบถึง 3% ทำให้การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกปีหน้ามีความไม่แน่นอน และอาจลากยาวกว่าที่ประเมินไว้
ตัวอย่างความเสี่ยง
หมายความว่าการฟื้นตัวแบบตัววีในช่วงครึ่งหลังของปีนี้อาจไม่เกิดขึ้น ตรงกันข้ามการฟื้นตัวจะใช้เวลาและอาจลากยาวถึงปีหน้า แต่จะยาวแค่ไหนคงขึ้นอยู่ว่าจากนี้ไปจะมีปัจจัยลบอื่นๆ หรือไม่ ที่จะเข้ามากระทบเศรษฐกิจ ตัวอย่างความเสี่ยง รวมถึงความเข้มแข็งของนโยบายที่ภาคทางการของประเทศต่างๆ จะดำเนินการที่จะมีผลต่อการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ นโยบายของภาคทางการที่จะออกมา นี่คือ ความเสี่ยง คือจะมีปัจจัยลบอีกหรือไม่ที่จะเข้ามากระทบเศรษฐกิจ ทำให้การฟื้นตัวของเศรษฐกิจถูกกระทบ ทำให้การฟื้นตัวสะดุดและต้องล่าช้าออกไป ปัจจัยเสี่ยง
ขอบคุณเครดิต bangkokbiznews.com
ข่าวแนะนำ
- เศรษฐกิจออนไลน์KTB รุกแจ้งเตือน กลโกงหลอกผ่านออนไลน์ ลูกค้า ‘เป๋าตัง’ 40ล้านคน
- เศรษฐกิจไทยด่วน! จีนประกาศผ่อนคลายมาตรการโควิด-19 ทั่วประเทศแล้ว
- ราคาน้ํามัน ราคาน้ำมันโลกพุ่งเมื่อ “โอเปกพลัส” ไม่ปรับเเผนสำหรับปริมาณผลิต
- เก็บเงินไม่อยู่ ฮ วง จุ้ย8 ความเชื่อ วิธีเก็บเงินในกระเป๋าเรียกทรัพย์
- เงินเยียวยาเกษตรกร สศก. แนะเกษตรกรปลูกพืชผักอายุสั้นหลังน้ำลด ผลตอบแทนดี มีตลาดรองรับ